บทความ Can Be Fun For Anyone

"การยอมรับ - ทำไมต้องรับ" กับผลลัพธ์ที่แตกต่าง

เวลาตรวจสอบไวยากรณ์และคำผิด ให้พิมพ์บทความใส่กระดาษจะดีกว่า ใช้ดินสอหรือปากกาในการตรวจไวยากรณ์และคำผิด จากนั้นกลับไปแก้ไขในคอมพิวเตอร์

บทความกึ่งชีวประวัติ: บทความประเภทนี้จะนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง โดยใช้ข้อมูลที่นักเขียนรวบรวมจากการสัมภาษณ์และค้นคว้าภูมิหลังมาเขียนบทความ

อาจมีการปรับเปลี่ยนให้แตกต่างจากโครงร่างเดิมได้ตามความเหมาะสม บางครั้งเมื่อลงมือเขียน ก็อาจมีการดำเนินเนื้อหาแตกต่างไปจากโครงร่างเดิม ถ้าเห็นว่าทำให้งานเขียนออกมาดีกว่า ให้ปรับเปลี่ยนทิศทางการเขียนให้แตกต่างจากโครงร่างที่เขียนไว้

ระดมสมองคิดหัวข้อ. เขียนรายการหัวข้อที่น่าจะเขียนได้ เราอาจอยากเขียนเกี่ยวกับการอพยพหรืออาหารออร์แกนิก หรือศูนย์พักพิงสัตว์ใกล้บ้านเรา เราต้องทำให้หัวข้อแคบลงเพื่อจะได้เขียนออกมาเชื่อมโยงกันและสั้นกระชับ อีกทั้งเขียนได้เจาะลึกยิ่งขึ้น ผลที่ได้คือทำให้บทความของเรามีความหนักแน่นมากขึ้น ถามตนเองด้วยคำถามดังต่อไปนี้ เราสนใจอะไรในหัวข้อนี้

"การยอมรับ - ทำไมต้องรับ" กับผลลัพธ์ที่แตกต่าง

(แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง)

กาแฟไร้เมล็ดคืออะไร และรสชาติเป็นอย่างไร ?

พลังงานหมุนเวียน, เชื้อเพลิงฟอสซิล, คนและสังคม

จะเกิดอะไรขึ้นบ้างกับก้นมหาสมุทร เมื่อซากเรือไททานิกกำลังผุกร่อน ?

(แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง)

การร่างแยกเป็นห้าย่อหน้าอาจไม่เหมาะกับบทความบางประเภท ตัวอย่างเช่น ถ้ากำลังเขียนบทความกึ่งชีวประวัติ เราอาจต้องใช้การร่างบทความแบบอื่น

ใช้ลีลา โครสร้าง และน้ำเสียงที่เหมาะสม. เราต้องเขียนด้วยลีลา โครงสร้าง และน้ำเสียงที่เหมาะกับประเภทของบทความที่กำลังเขียน ประเมินผู้อ่านเพื่อจะได้รู้ว่าควรเลือกวิธีนำเสนอข้อมูลแบบไหนถึงจะเหมาะสมที่สุด ตัวอย่างเช่น บทความหนังสือพิมพ์จะต้องให้ข้อมูลแบบเล่าเรื่องตามลำดับเหตุการณ์ จึงควรใช้ภาษาที่ตรงไปตรงมาและเข้าใจง่าย บทความวิชาการต้องใช้ภาษาที่เป็นทางการมากขึ้น บทความสาธิตวิธีการอาจเขียนโดยใช้ภาษาแบบเป็นกันเอง

วิทยากร คอลัมนิสต์ นักเขียน นักคิด ที่ปรึกษา บทความ จากสายด้านธุรกิจ การตลาด สู่การจัดการบุคคลากร และว่าที่นักจิตวิทยาการปรึกษา

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *